|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
21-24 สัปดาห์ สร้างเม็ดเลือด อาจารย์นายแพทย์ อภิธาน พวงศรีเจริญ
|
|
|
|
เข้าสู่สัปดาห์ที่ 21-24 แล้ว ร่างกายของลูกน้อยก็เริ่มผลิตเม็ดเลือด รวมทั้งระบบอวัยวะหลายอย่าง เช่น ลำไส้ กล้ามเนื้อ ต่อมเหงื่อ ปอด หู และระบบสืบพันธุ์ ก็เริ่มเข้าที่แล้วล่ะค่ะ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย 21-24 สัปดาห์ สร้างเม็ดเลือด อาจารย์นายแพทย์ อภิธาน พวงศรีเจริญ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
พัฒนาการในครรภ์ เดือนที่หก
|
|
|
|
เมื่อสิ้นสุดสัปดาห์ที่ยี่สิบ ทารกจะมีความยาวจากศีรษะถึงสะโพกตอนนี้จะยาวประมาณ 21 เซนติเมตร (8 นิ้ว) น้ำหนักเพิ่มขึ้นเป็น 630 กรัม (1 ปอนด์ 6 ออนซ์) อวัยวะต่างๆ พัฒนาไปจนเกือบสมบูรณ์แล้ว |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย ม.ร.ว.นายแพทย์ทองทิศ ทองใหญ่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่ 6 ลืมตาดูโลกครั้งแรก
|
|
|
|
ตอนนี้ เจ้าหนูมีลำตัวที่ใหญ่จนเต็มพื้นที่ในมดลูก ยิ่งเจ้าหนูโตขึ้นมากเท่าไร ก็ยิ่งดูเหมือนว่าโลกใบนี้ช่างแคบเสียเหลือเกินพื้นที่ที่จำกัดนี้ ทำให้การเคลื่อนไหวตัวเป็นไปอย่างยากลำบาก |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย นิตยสารบันทึกคุณแม่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่ 6 เดือนแห่งสัมผัสรัก
|
|
|
|
เข้าสู่เดือนสุดท้ายของไตรมาสที่ 2 กันแล้วค่ะ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย Daaw |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่ 7 ขยับท่าเตรียมพร้อมสู่โลกกว้าง
|
|
|
|
ถึงแม้ภายในท้องแม่จะอบอุ่นและให้ความรู้สึกปลอดภัยกับหนู แต่ยิ่งนานวัน มันก็ยิ่งคับแคบขึ้นทุกที จนสร้างความอึดอัดให้กับหนูเหลือเกิน ตอนนี้หนูเริ่มฝันถึงโลกกว้างภายนอกโลกใบอุ่นนี้แล้วล่ะ ไม่ว่าด้านนอกนั้น จะมีอันตรายขวากหนามใดๆ เจ้าหนูมั่นใจว่าแม้จะต้องช่วยปัดเป่าให้ได้ทุกเรื่องอย่างแน่นอน ตอนนี้หนูมีทุกอย่างครบถ้วนแล้วเหลือเพียงปอดเท่านั้น ที่ยังมีพัฒนาการไม่สมบูรณ์เต็มที่ ทำให้หนูยังต้องพึ่งพาลมหายใจจากคุณแม่อยู่ เหลือเพียงอีก 2 เดือนเท่านั้น ร่างกายของหนูก็คงพร้อมสำหรับการมีชีวิตอยู่ในโลกภายนอก ในระหว่างนี้ หนูค่อยๆ ขยับตัวไถลหัวให้อยู่ในท่าพร้อมดีกว่า เอ้า! อึบๆ ๆ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย กองบรรณาธิการนิตยสารบันทึกคุณแม่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่ 7 เดือนแห่งความหวัง
|
|
|
|
เดือนนี้ก็เริ่มไตรมาสสุดท้ายของการตั้งครรภ์แล้วนะคะ คุณแม่ทั้งหลายเริ่มจะใจชื้นขึ้นมาหรือยังคะ ต้องอดทนกับอาการอุ้ยอ้ายอีกสักหน่อย ไม่นานเราจะได้เห็นหน้าเจ้าตัวน้อยกันแล้ว |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย Daaw |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่ 8
|
|
|
|
เมื่อจะสิ้นสุดปลายเดือนที่แปดนี้ทารกจะมีความยาวประมาณ 36 เซนติเมตร และหนักประมาณ 3.5 กิโลกรัม ทารกมีการพัฒนารูปร่างและการทำงานของร่างกายไปจนเกือบสมบูรณ์แล้ว จะมีชีวิตรอดได้หากคลอดออกมาในเดือนนี้ โดยอาจไม่จำเป็นต้องพึ่งพาเครื่องช่วยหายใจในหน่วยบริบาลทารกแรกเกิดของโรงพยาบาล เพราะปอดมีความสมบูรณ์มาก |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย นพ.ม.ร.ว.ทองทิศ ทองใหญ่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่ 8 แรงสัมผัสจากสัญญาณแจ้งเกิด
|
|
|
|
เหลืออีกเพียงเดือนเดียวเท่านั้นสองชีวิตที่ผูกพันกันด้วยสายใยรักจะได้พบหน้ากันเป็นครั้งแรกตอนนี้เจ้าหนูรู้สึกอึดอัดกับความคับแคบเสียจนต้องปล่อยฮอร์โมนแห่งความเครียดออกมาสารที่ปล่อยออกมานี้ เหมือนเป็นสัญญาณทางกายที่สื่ออกไปให้ร่างกายของคุณแม่ได้รับรู้.. |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย นิตยสารบันทึกคุณแม่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่ 8 เดือนแห่งการเตรียมตัว เตรียมใจ Daaw
|
|
|
|
เข้าสู่เดือนที่ 8 กันแล้วนะคะ ความอุ้ยอ้ายคงมากขึ้นทุกที คุณแม่บางคนก็ชินกับภาวะนี้เสียแล้ว แต่กับบางคนก็ยังคงต้องเหนื่อยหน่อยเพราะตอนนี้เจ้าตัวเล็กจะเคลื่อนตัวสูงขึ้น |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย เดือนที่ 8 เดือนแห่งการเตรียมตัว เตรียมใจ Daaw |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่ 9
|
|
|
|
มาดูซิว่าตอนนี้ทารกของคุณเป็นอย่างไรบ้าง
ตอนนี้ทารกของคุณจะมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นวันละ 1 ออนซ์ ซึ่งอาจมีน้ำหนักมากถึง 3.5 กิโลกรัม (7 ปอนด์ 11 ออนซ์) และยาวประมาณ 36 เซนติเมตร (14 นิ้ว) เมื่อครบกำหนด 40 สัปดาห์พอดีทารกอาจยาวถึง 20 นิ้ว หรือมากกว่านี้เล็กน้อย |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย นพ.ม.ร.ว.ทองทิศ ทองใหญ่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
สมองลูก 9 เดือนในท้องแม่
|
|
|
|
สมองของมนุษย์ถือเป็นอวัยวะที่มีวิวัฒนาการสูงที่สุดเท่าที่มีการบันทึกไว้ นอกจากนั้นสมองยังเป็นอวัยวะสำคัญที่ควบคุมระบบต่างๆ ของร่างกาย ดังนั้น คุณแม่จึงควรให้ความสำคัญกับการเติบโตของสมองลูกตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ เพื่อให้สมองของลูกพัฒนาและมีวิวัฒนาการตามลำดับอย่างสมบูรณ์แข็งแรงเช่นเดียวกับอวัยวะอื่นๆ ค่ะ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.พญ.เฉลิมศรี ธนันตเศรษฐ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่ 9 เดือนแห่งความสำเร็จ
|
|
|
|
สัปดาห์ที่ 33 - 34 |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย Daaw |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่เก้าในเวลานัดหมาย แ แ แ แ แล้วววว!
|
|
|
|
ในที่สุด ก็ถึงวันที่จะได้พบหน้ากันเสียที ตอนนี้เจ้าหนูตัวโตจนคับพื้นที่ในห้องมืดของแม่เสียแล้วแรงบีบจากผนังรอบห้อง ผลักให้เจ้าหนูต้องดันหัวไปผ่านทางช่องเล็กๆ ที่มีแสงลอดรำไร ตอนแรกมันดูเล็กมาก จนเจ้าหนูกลัวว่าจะรอดออกไปไม่ได้
เสียงอึกทึกจากภายนอกรอดเข้ามา ทุกครั้งที่สิ้นเสียง อื้อ
|
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย บันทึกคุณแม่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
สัปดาห์ที่ 36 ถึงกำหนดคลอดเสียที!!
|
|
|
|
แล้วเดือนที่ 9 ก็มาถึง ว่าที่คุณแม่หลายคนแทบจะอดใจรอที่จะพบหน้าเจ้าตัวเล็กต่อไปไม่ไหว หลายคนครุ่นคิดถึงแต่วันคลอด อยากรู้ว่าตนเองจะคลอดแบบไหนและเริ่มเตรียมตัวสำหรับวันสำคัญที่ใกล้จะมาถึงแต่คุณไม่ควรหมกมุ่นมากเกินไปนะคะ ไม่เช่นนั้นอาจจะกลายเป็นความเครียดได้ ช่วงนี้คุณควรพักผ่อนให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ดีกว่าค่ะ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย Thanyathorn |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
9 เดือน ที่เปลี่ยนแปลง
|
|
|
|
ผมใคร่ที่จะ ขอสรุปเรื่องเกี่ยวกับ 40 สัปดาห์ของทารกในครรภ์อีกครั้งหนึ่งว่า ส่วนที่น่าจะมีความสำคัญนั้นประกอบไปด้วยอะไรบ้าง |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย นท.นพ.วิวัฒน์ ชินพิลาศ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
29-32 สัปดาห์ หนูน้อยจอมพลัง
|
|
|
|
ลูกน้อยเติบโตรุดหน้ามากแล้วค่ะ ความแข็งแรงของร่างกายก็เพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ จากตัวเล็กๆ น้ำหนักนิดเดียว ตอนนี้เป็นหนูน้อยทรงพลัง เตะต่อยเก่งเลยนะคะ...
สัปดาห์ที่ 29 : นักชกจอมพลัง |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย กรวี |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
สัปดาห์ที่ 40 คุณต้องรับมือกับอะไร
|
|
|
|
มาถึงสัปดาห์นี้ นาทีที่คุณจะได้เห็นหน้าเจ้าตัวน้อยนั้นใกล้เข้ามาทุกขณะ ไม่ช้าคุณก็จะได้อุ้มลูกน้อยที่คุณรอคอยมานานถึง 9 เดือนไว้ในอ้อมกอด ช่วงเวลานั้นถือเป็นนาทีที่ยิ่งใหญ่ที่จะอยู่ในความทรงจำของคุณตลอดไปอย่างแน่นอน เรามาดูกันดีกว่าค่ะว่าในช่วงสัปดาห์สุดท้ายของการตั้งครรภ์นั้นคุณต้องรับมือกับอะไรบ้าง |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย Thanyathorn |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
หัวใจลูก 9 เดือนในท้อง
|
|
|
|
ด้วยเตือนแห่งความรัก หัวใจเป็นสัญลักษณ์ที่เชื่อมโยงความรักระหว่างแม่ลูก แล้วด้วยหัวใจเป็นอวัยวะที่มีความพิเศษ มีแต่ตัวจริงไม่มีตัวสำรองแทนได้ จึงควรไปทำความรู้จักกันค่ะ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.พญ.เฉลิมศรี ธนันตเศรษฐ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
ท้องนี้ต้องอัลตราซาวนด์ 4 มิติไหม
|
|
|
|
อัลตราซาวนด์ คือ คลื่นความถี่สูงมาก 20,000 Hz. ที่นำมาใช้ทางการแพทย์โดยส่งคลื่นเสียงความถี่สูงนี้ออกไปจากหัวตรวจค่ะ เมื่อคลื่นเสียงไปกระทบเนื้อเยื่อต่างๆ ภายในร่างกาย และสะท้อนกลับมายังตัวเครื่อง หัวตรวจจะทำหน้าที่รับสัญญาณคลื่นเสียงที่สะท้อนกลับมา แล้วประมวลผลและแปลงเป็นภาพค่ะ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย กุมภการ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
อัลตราซาวนด์กับคุณแม่ตั้งครรภ์
|
|
|
|
อัลตราซาวนด์ ก็คือ คลื่นที่มีเสียงความถี่สูงกว่าที่หูคนเราจะได้ยิน ที่แน่ๆ ลูกน้อยๆ ในท้องคุณแม่จะไม่ได้ยินอะไรหรอกครับ อัลตราซาวนด์จึงไม่มีผลกระทบต่อคุณแม่และลูกน้อยแน่นอน จากการใช้อัลตราซาวนด์มานานเกือบ 50 ปี ยังไม่มีรายงานว่าทารกในครรภ์ได้รับอันตรายจากการอัลตราซาวนด์ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.นพ.ธีระพงษ์ เจริญวิทย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|