|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
อัลตราซาวนด์กับคุณแม่ตั้งครรภ์
|
|
|
|
โดยทั่วไปหูคนเราสามารถได้ยินเสียงที่มีความถี่อยู่ระหว่าง 20-20,000 Hz เสียงที่มีความถี่สูงเกินกว่า 20,000 Hz ซึ่งเกินกว่ามนุษย์จะได้ยินเรียกว่า อัลตราซาวนด์ คุณแม่มักเรียกสั้นๆ ว่า ซาวนด์ ซึ่งบางครั้งคุณอาจวิตกกังวลว่ามีผลกระทบกับเด็กหรือไม่ และอาจยังไม่ได้คำตอบที่ชัดเจน |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.นพ.ธีระพงษ์ เจริญวิทย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
อัลตราซาวนด์ที่อยากรู้ (ตอนที่ 2)
|
|
|
|
ฉบับที่แล้ว
ข้อบ่งชี้ที่ผมเขียนให้คุณแม่อ่านไว้หลายข้อนั้นจริงแล้วยังมีข้อบ่งชี้อื่นๆ อีก เช่น การดูความผิดปกติของตัวมดลูก ตรวจดูตำแหน่งของห่วงอนามัย ดูความผิดปกติของน้ำคร่ำ เช่น น้ำคร่ำมากหรือน้อยคำนวณน้ำหนักทารกในครรภ์ ในรายที่มีความแตกต่างระหว่างนาดของมดลูกเมื่อเทียบกับอายุครรภ์ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.นพ. ธีระพงศ์ เจริญวิทย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
ตรวจหาความผิดปกติของสมองทารกในครรภ์
|
|
|
|
ซึ่งความผิดปกติทางโครงสร้างของทารกอาจเป็นผลมาจากพันธุกรรม สภาพแวดล้อมอื่นๆ โดยร้อยละ 50 จะไม่ทราบสาเหตุ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.นพ.ธีระพงศ์ เจริญวิทย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
ระบบทางเดินหายใจและทางเดินปัสสาวะ
|
|
|
|
ระบบต่อไปที่ผมจะกล่าวถึงในครั้งนี้ ระบบทางเดินหายใจและระบบทางเดินปัสสาวะ เพื่อให้คุณแม่ได้ทราบว่าสองระบบนี้เป็นอย่างไร และจะมีความผิดปกติอะไรได้บ้าง |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.นพ. ธีระพงศ์ เจริญวิทย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
ระบบทางเดินหายใจของลูกน้อยในครรภ์
|
|
|
|
พัฒนาหลอดลมและปอด |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.พญ.เฉลิมศรี ธนันตเศรษฐ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
ระบบทางเดินปัสสาวะและโครงกระดูกลูก
|
|
|
|
เพราะยังมีความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะอีกอย่างหนึ่ง คือ อัลตราซาวนด์แล้วไม่พบไตเลยทั้ง 2 ข้าง หรือพบว่ามีเพียงข้างเดียว ในกรณีที่พบเพียงข้างเดียว การพยากรณ์โรคจะดีกว่าการไม่มีไตเลยทั้ง 2 ข้าง |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.นพ. ธีระพงศ์ เจริญวิทย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
ระบบทางเดินปัสสาวะของลูกน้อยในครรภ์
|
|
|
|
ระบบทางเดินปัสสาวะเปรียบเสมือนระบบบำบัดน้ำเสีย ในโรงงานกรองน้ำสะอาดนั่นเองค่ะ หากขาดระบบทางเดินปัสสาวะหรือระบบขับถ่ายไม่เป็นปกติแล้ว รูปแบบการดำเนินชีวิตอาจจะไม่เป็นปกติ ถึงจะไม่มีเรื่องที่ต้องน่าวิตกกังวลแต่ก็ควรได้รับการใส่ใจไม่น้อยกว่าอวัยวะส่วนอื่นเลยค่ะ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.พญ.เฉลิมศรี ธนันตเศรษฐ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่ 2 ...เดือนแห่งการสร้างอวัยวะ
|
|
|
|
ในเดือนที่ 2 ของการตั้งครรภ์ หรือสัปดาห์ที่ 5-8 นี้ ตัวอ่อนในครรภ์มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว และยังเป็นช่วงที่คุณแม่ต้องระมัดระวังมากเป็นพิเศษด้วย เรามาดูกันค่ะว่าในช่วง 4 สัปดาห์นี้มีการเปลี่ยนแปลงอะไรเกิดขึ้นในครรภ์บ้าง |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย นิตยสารบันทึกคุณแม่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่ 3... จากตัวอ่อนสู่ทารก
|
|
|
|
เผลอแป๊บเดียวก็มาถึงเดือนที่ 3 แล้ว นั่นก็หมายความว่าไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์กำลังจะผ่านไป ในช่วงนี้อวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายลูกทั้งภายในและภายนอกก็พัฒนาจนเกือบสมบูรณ์จนมองเห็นว่าเป็นมนุษย์ตัวจิ๋วแล้ว เพราะฉะนั้นช่วงนี้เราจะเปลี่ยนจากการเรียกว่า ตัวอ่อน มาเป็น ทารก แทน เรามาดูกันค่ะว่าในเดือนนี้ลูกน้อยของคุณเป็นอย่างไรบ้าง |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย นิตยสารบันทึกคุณแม่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่สามเร่งพัฒนาอวัยวะสู่การใช้งาน
|
|
|
|
ตัวอ่อนแปลงกาย
ทุกวินาทีที่ผ่านไปเนื้อเยื่อที่ตัวอ่อนสร้างขึ้น จะก่อตัวหนาขึ้นเป็นโครงร่างของชิ้นส่วนอวัยวะสำคัญ นับวันโครงสร้างอวัยวะเหล่านี้ ก็ยิ่งทำให้เจ้าตัวอ่อนมีรูปร่างหน้าตาที่เปลี่ยนไป
. มันดูคล้ายกับทารกตัวจิ๋ว รอบๆ ตัวทารกน้อยเต็มไปด้วยน้ำเหนียวข้นที่เรียกว่าน้ำคร่ำ มีผนังหนานุ่มหุ้มอยู่อีกชั้น สายสะดือเส้นใหญ่โยงช่วงท้องของทารกน้อยกับตัวผนังรก |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย กองบรรณาธิการนิตยสารบันทึกคุณแม่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่ 4 ถึงเวลาขยับแข้งขยับขา
|
|
|
|
และแล้ว ก็เป็นหนูน้อยเต็มตัว
ในที่สุดการแปลงกายก็สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีถึงตอนี้เจ้าหนูของเราเป็นทารกตัวน้อยที่มีรูปร่างหน้าตาพร้อมกับระบบต่างๆ ใกล้เคียงกับมนุษย์จนเกือบจะสมบูรณ์แล้ว |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย กองบรรณาธิการบันทึกคุณแม่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เดือนที่ 4 เดือนแห่งชีวิต
|
|
|
|
ก้าวเข้าสู่ไตรมาสที่ 2 ของการตั้งครรภ์แล้ว คุณแม่มือใหม่ทั้งหลายเริ่มคลายกังวลกันบ้างหรือยังคะ เรามาดูกันดีกว่าค่ะว่าเจ้าตัวน้อยในครรภ์ตอนนี้มีพัฒนาการอย่างไรบ้าง และข้อปฏิบัติของคุณพ่อคุณแม่มือใหม่ทั้งหลายจะต้องทำอย่างไรกันบ้าง |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย DaaW |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
ตรวจหัวใจลูกและระบบอาหาร
|
|
|
|
ระบบต่อไปที่อัลตราซาวนด์จะมาช่วยในการวินิจฉัยความผิดปกติของอวัยวะทารกในครรภ์ ได้แก่ ระบบไหลเวียนโลหิต (Cardiovascular system) ได้แก่ ความผิดปกติทางโครงสร้างของหัวใจทารก ซึ่งพบได้มากที่สุดอย่างหนึ่งประมาณ 8 ใน 1,000 ของการเกิดมีชีพ การตรวจความผิดปกติของหัวใจนั้นทำได้ยากที่สุดครับ แต่ในปัจจุบันคลื่นเสียงความถี่สูงมีส่วนช่วยได้มาก |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.นพ. ธีระพงศ์ เจริญวิทย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
การวินิจฉัยทารกก่อนคลอด
|
|
|
|
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา สาเหตุบางอย่างทำให้เกิดโรคพันธุกรรมและความพิการแต่กำเนิด เช่น โรคติดเชื้อและภาวะทุพโภชนาการในคุณแม่ตั้งครรภ์ ซึ่งได้รับการรักษาพยาบาลและป้องกันอย่างได้ผลในระดับหนึ่งเท่านั้น ดังนั้น การวินิจฉัยภาวะดังกล่าวขณะตั้งครรภ์จึงยังคงมีความจำเป็นสูง
|
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.นพ.ธีระพงศ์ เจริญวิทย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
อัลตราซาวนด์ที่อยากรู้ ข้อแนะนำก่อนเจาะน้ำคร่ำ
|
|
|
|
โดยทั่วไปก่อนเจาะน้ำคร่ำ คุณหมอจะต้องตรวจรายละเอียดทั้งทารก รกและบริเวณที่จะเจาะ เพราะในบางตำแน่งอาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมารวมถึงวิธีปฏิบัติตัวหลังผ่านการเจาะน้ำคร่ำแล้วครับ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.นพ.ธีระพงศ์ เจริญวิทย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
การเก็บตัวอย่างเลือดทารกในครรภ์
|
|
|
|
การตรวจความผิดปกติของทารกในครรภ์ โดยวิธีการเก็บตัวอย่างเลือดทารกในครรภ์ ทำให้เกิดความรู้ใหม่ในสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารกในครรภ์เพิ่มขึ้น นอกจากวินิจฉัยทารกก่อนคลอดแล้ว ยังทราบถึงความผิดปกติทางพยาธิสรีรวิทยาของลูกในครรภ์ และยังช่วยรักษาทารกในครรภ์ด้วยครับ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.นพ.ธีระพงศ์ เจริญวิทย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
เจาะน้ำคร่ำ วินิจฉัยทารกก่อนคลอด
|
|
|
|
ฉบับที่แล้วผมเล่าว่าน้ำคร่ำมีแหล่งกำเนิดและกลไกการไหลเวียนมาจากไหน ซึ่งคุณแม่หลายคนยังมีข้อสงสัยอยู่ ผมจึงขอเล่ารายละเอียดเรื่องการเจาะน้ำคร่ำกันต่อนะครับ
|
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.นพ.ธีระพงศ์ เจริญวิทย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
ตรวจวิธีใหม่ๆ
วินิจฉัยทารกในครรภ์
|
|
|
|
ครั้งที่แล้วพูดถึงวิธีการเก็บตัวอย่างเลือดของทารกในครรภ์คราวนี้จะขอพูดถึงวิธีใหม่ๆ ที่ช่วยในการตรวจวินิจฉัยความผิดปกติของทารกในครรภ์ครับ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.นพ.ธีระพงศ์ เจริญวิทย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
ตรวจ
การเต้นของหัวใจ
|
|
|
|
สำหรับเรื่องวิธีการนับและบันทึกการเคลื่อนไหวของทารกใน 1 วัน เรียกว่า Daily fetal movement record มีไว้เพื่อติดตามการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการทำงานของรกลดลง |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย รศ.นพ.ธี |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
คุมน้ำหนักระหว่างตั้งครรภ์
|
|
|
|
กินอย่างไรลูกในครรภ์จึงจะแข็งแรง จึงเป็นปัญหาที่หมอพบคุณแม่ถามถึงเสมอ |
|
|
|
วันที่ 13 เม.ย. 2553 โดย นพ.พนิตย์ จิวะนันทประวัติ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|